ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin |
ชื่อวงศ์ Family name |
ALANGIACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ปรู Pru; มะตาปู๋ Ma ta pu (Chingmai)ปรู๋ Pru; ผลู Pru (Central); มะเกลือกา Ma ker ga (Prachinburi) |
ชื่อสามัญ Common name |
- |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Sb) Stem bark |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เปลือกลำต้น นำมาต้มใช้กินเป็นยาแก้จุกเสียด ท้องร่วง บำรุงธาตุไฟ แก้หอบหืด แก้ไอแก้ลงท้อง
|
ข้อควรระวัง Caution |
ผล มีแอลคาลอดย์หลายชนิดซึ่งอาจมีอันคราย ควรศึกษาพิษวิทยาของสารเหล่านี้ด้วย |
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้พุ่มขนาดกลา สูง 8-10 ม. กิ่งอ่อนมีขน ลำต้นและกิ่งก้านเกลี้ยง หรืออาจมีขนเล็กน้อย ใบ รูปรี โคนใบแหลม เรียงสลับ กว้าง 5-7 ซ.ม. ยาว 8-15 ซ.ม. ปลายใบกว้างและมี ติ่งแหลม ใบมีขนอ่อน ขอบใบเรียบดอก เป็นดอกช่อ ดอกกระจุกตัวกันที่ซอกใบ มีสีขาวนวล หรือเหลืองอ่อน มีกลีบดอกประมาณ 5-7 กลีบ ขึ้นประปรายผล ออกเป็นกระจุก รูปรี สีดำ ยาว 1.5 ซ.ม. กว้าง 0.9 ซ.ม. ปลายผลมีกลีบรองดอกอยู่ และกลางผลเป็นสันแข็งตลอดความยาวผล |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
โรงเรือนกระจก C5,6 |
การกระจายพันธุ์ Distribution |
Tropical Area |
หมายเหตุ Remark |
- |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ 40) |
QR code |
|
|
|