ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Alpinia galanga (L.) Willd. |
ชื่อวงศ์ Family name |
ZINGIBERACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ข่า Kha (General); ข่าหยวก Kha yuak, ข่าหลวง Kha luang (Northern); เสะเออเคย Se-oe-khoei, สะเอเชย Sa-e-choei (Karen-Mae Hong Son)กฏุกกโรหินี Katuk karohini (Central); |
ชื่อสามัญ Common name |
Glalangl. Greater Galangal. Chinese Ginger |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Rz) Rhizome |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เหง้า บดเป็นผงเป็นยาดมแก้อาการเวียนศีรษะ ต้มดื่มแก้เวียนศีรษะ เหง้าเข้ายาประคบแก้อัมพฤกต์ ต้มดื่มแก้อัมพฤกต์อัมพาต ขับลม เข้ายาหอม เข้ายาอาบแก้ลมผิดเดือน แก้หวัด (2) เหง้า ประกอบอาหาร ลวกจิ้มน้ำพริก หน่อ ใส่แกง ดอก ใส่แกง ลวกหรือกินสดกับน้ำพริก (4)
เหง้าแก่ ทาแก้โรคผิวหนัง รักษาอาการคันในโรคลมพิษ แก้ท้องอืดท้อง เฟ้อ แน่จุเสียด
|
ข้อควรระวัง Caution |
- |
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
- |
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้ลงหัวจำพวก กะวาน เร่ว กะลา จะลงหัวใหญ่ ขาว อวบอ้วน ชอบขึ้นตาม ที่ลุ่มใบ รูปไข่ยาว ออกสลับกันรอบๆ ลำต้นบน ดินกาบใบหุ้มลำต้นคล้ายใบพาย ดอก สีขาว เป็นช่อตรงปลายยอด จัดอยู่ อย่างหลวมๆ ผล กลมโต ขนาดเท่าเม็ดบัว เมื่อแก่มีสี ดำและมีเม็ดเล็กๆอยู่ภายใน รสขม เผ็ดร้อน |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
- |
หมายเหตุ Remark |
เหง้าสด รักษาเกลื้อน โดยผสมกับเหล้า โรงหรือน้ำส้มสายชู หรือตำแล้วนำมา แช่ในแอลกอฮอล์ ทาบริเวณที่ป็นเหง้าแก่ ตำให้ละเอียด ทาแก้โรคผิวหนัง รักษาอาการคันในโรคลมพิษ แก้ท้อง อืดท้องเฟ้อ แน่จุเสียดนอกจากนี้ยังสามารถนำมาปรุงอาหารเพื่อ ช่วยดับกลิ่นคาว และเป็นส่วนผสมของ เครื่องเทศได้ใช้เป็นอาหารเหง้า ใช้ประกองปรุงอาหาร(บ้านม้งหนองหอย แม่แรม ชม.) |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ (43) |
QR code |
|
|
|