ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Kalanchoe pinnata (Lam.) Pers. |
ชื่อวงศ์ Family name |
CRASSULACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
คว่ำตายหงายเป็น Khwam taai ngaai pen (Chon Buri, Peninsular); กระลำเพาะ Kralam phoh, ต้นตายใบเป็น Ton taai baai pen, นิรพัตร Nira phat, เบญจฉัตร Benchachat (Central); กะเร Ka re, กาลำ Kaalam (Trat); แข็งโพะ Khaeng pho, โพะเพะ Pho pheh (Nakhon Ratchasima); ต้นตายปลายเป็น Ton taai plaai pen (Chanthaburi); ตาละ Taa-la (Malay-Yala); ปะเตียลเพลิง Pa-tian phloeng (Khmer-Chanthaburi); เพรอะแพระ Phroe phrae (Prachuap Khiri Khan); มะตบ Ma top, ล็อบแล็บ Lop laep, ลุบลับ Lup lap, ลุมลัง Lum lang (Northern); ยาเท้า Yaa thao (Norheastern); ส้มเช้า Som chao (Prachuap Khiri Khan, Surat Thani, Trang) |
ชื่อสามัญ Common name |
- |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Le) Leaf |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ใบ แก้อักเสบ พอกฝี แก้ปวด ฟกบวม แก้เคล็ดขัดยอก แพลง แก้กล้ามเนื้ออักเสบ
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น เป็นไม้ล้มลุก สูง 1 ม.อวบน้ำ ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านมากนัก เมื่อยังอ่อนตามข้อจะบวมมีสีเขียวและมีจุดสีม่วงแต้มใบ ใบเดี่ยว ขอบใบหยัก รูปรีแกมรุปไข่ กว้าง 2.5-5 ซ.ม. ยาว 5-20 ซ.ม. โคนและ ปลายใบมน เนื้อใบหนา อวบ ตรงขอบใบมีสีม่วงดอก ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก แยกเป็นแฉก กลีบดอกสีแดง เป็นหลอดผล เมื่อแก่จัดจะแห้งและแตกด้านข้าง เมล็ดรูปขอบขนานแกมรี มีขนาดเล็ก |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
มีในสวน |
การกระจายพันธุ์ Distribution |
ขึ้นในดินที่ระดับความสูง 0-1000 ม. จากระดับน้ำทะเล |
หมายเหตุ Remark |
ใบ เอามาเผาไฟเล็กน้อย หรือเอาหัวมาตำ ใช้รักษาบาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก หรือ ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ ใช้รักษาตาปลา ใช้พอกฝี นำน้ำที่คั้นได้จากใบใช้รักษาอาการ ท้องร่วง นิ่ว บิด อหิวาตกโรค เป็นยาขับปัสสาวะ ปวด ท้อง รักษาโรคไขข้ออักเสบ โรคหิด และ ขี้เรื้อน ใบ ใช้3 ต้มกินน้ำหลังคลอดแก้อาการผิดเดือน(บ้านม้งหนองหอย แม่แรม ชม.) |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (136);สมุนไพรไม้พื้นบ้าน เล่ม 2 (47) |
QR code |
|
|
|