ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Tamarindus indica L. |
ชื่อวงศ์ Family name |
LEGUMINOSAE-CAESALPINOIDEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
มะขาม Ma kham (General); ตะลูบ Ta-lup (Chaobon-Nakhon Ratchasima); ม่องโคล้ง Mong-khlong (Karen-Kanchanaburi); มอดเล Mot-le, ส่ามอเกล Sa-mo-kle (Karen-Mae Hong); หมากแกง Mak-kaeng (Shan-Mae Hong Son); อำเปียล Am-pian (Khmer-Surin) |
ชื่อสามัญ Common name |
Tamarind, Indian date |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Ft) Fruit |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เปลือกต้น เป็นยาสมานแผล หรือยาล้างแผล ทาแก้คันผิวหนังเด็ก ผล เป็นยาระบาย เข้ายาขับลม ทั้งต้น ต้มอาบไล่เลือดลม ต้มล้างแผล (2) เนื้อผล ผสมสมุนไพรอื่นให้ช้างกินเข้ายาบำรุงกำลัง ผลสุกกินเป็นยาระบาย (3) ราก ต้มดื่มแก้ปวดท้อง ผล กินแก้เวียนศีรษะ เมล็ด อมกินแก้ไอ (4)
ผล เป็นยาฝาดสมาน ลดไข้ ขับปัสสาวะ บำรุงหัวใ เป็นยาถ่าย
|
ข้อควรระวัง Caution |
- |
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
- |
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้ยืนต้น 15-25 ม. ใบ ประกอบแบบขนนก เีรียงสลับใบย่อย รูปขอบขนาน กว้าง 5-8 มม. ยาว 1-1.5 ซม. ดอก ช่อ ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง มีลายสีม่วงแดง ผล ฝัก มีเนื้อหุ้มเมล็ด สีน้ำตา ฉ่ำน้ำ |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
- |
หมายเหตุ Remark |
- |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่,
ไม้ดอกไม้ประดับ (104), นส.พรรณไม้ในสวนหลวง ร.9 (94) สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ (198) |
QR code |
|
|
|