ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Thunbergia laurifolia Lindl. |
ชื่อวงศ์ Family name |
ACANTHACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
รางจืด, กำลังช้างเผือก kamlang chang phueak, ขอบชะนาง khop cha nang, เครือเขาเขียว khruea khao khiao, ยาเขียว ya khiao, รางจืด rang chuet(Central); คายkhai, รางเย็น rang yen (Yala); จอลอดิเออ cho-lo-di-oe, ซั้งกะ sang-ka, ปั้งกะล่ะ pang-ka-la, พอหน่อเตอ pho-no-toe (Karen-Mae Hong Son); ดุเหว่า du wao (Pattani); ทิดพุด thit phut (Nakhon Si Thammarat); น้ำนองNam nong (Saraburi); ย่ำแย้ Yam yae, แอดแอ aet ae (Phetchabun) ชองตะลอหมื่อ Chong ta lor mue (ไทใหญ่), ชอนตะลอ Chon ta lor (กะเหรี่ยงแดง)
ชางตะลอ Chang ka lor (กะเหรี่ยง), ช้างกะลอ แก้ว Chang ka lor kaew(ไทใหญา), ชาง กะ ลอ Chang ka lor (บ้านแม่ออกหลวง), จะลอดิเดอ Cha lor di der(กะเหรี่ยงสะกอ)
|
ชื่อสามัญ Common name |
|
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Le) Leaf (St)Stem (Fl) Flower |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ตัดเถา ตวงน้ำหยอดหูแก้แมลงเข้าหู ตัดเถา ตวงน้ำหยอดตาแก้ปวดตา (3) ลำต้น ต้มดื่มรักษาอาการปวดท้อง แก้ปวดเมื่อย ลำต้นและใบ รักษาโรคความดัน ใบ ต้มดื่มรักษาโรคกระเพาะ ขับสารพิษออกจากร่างกาย ดอก แก้อาการปวดกล้ามเนื้อ ทั้งต้น ต้มเป็นยาห่มแก้ปวด (4)
ใบและเถา น้ำคั้นใบสด แก้ไข้ ถอนพิษ
ลำต้น ทุบนำมาทาแก้ ตะขาบ ผึ้งต่อย แก้คัน ทุบตากแห้งจุดกันยูง เถา ต้มดื่มแก้เบาหวาน ดอกตำ หมกไฟ กินได้ ใบ ต้มดื่มเป็นยาล้างไต เข้ายาลูกประคบแก้ปวดเข่า ใบ ขยี้ทาแก้ งู ตะขาบ แมงป่องกัด ต้มดื่มแก้อาการเมาค้าง ทั้งต้น ผสมยาอื่นต้มอาบแก้ผิวหนังบวม คัน และเป็นยาบำรุงเส้นเลือด
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบ เดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่ กว้าง 4-7 ซม. ยาว 8-14 ซม. ขอบใบเว้าเล็กน้อย ดอก ช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีม่วงแกมน้ำเงิน ใบประดับสีเขียวประสีน้ำตาลแดง ผล แห้ง แตกได ้ |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
|
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) วิทยา ปองอมรกุล และเบญจพร ภูกาบหิน. 2559. รายงานประจำปีโครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือ.,
สมุนไพรสวนสิรรุกขชาติ (201) |
QR code |
|
|
|