ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Drynaria quercifolia (L.) Sm. |
ชื่อวงศ์ Family name |
POLYPODIACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
กระแตไต่ไม้ Kratae tai mai (Central); กระปรอกว่าว Kra prok wao (Prachuap Khiri Khan, Prachin Buri); กูดขาฮอก Kut-kha-hok, เช้าวะนะ Chao-wa-na, พุดองแคะ Phu-dong-khai (Karen-Mae Hong Son); ใบหูช้าง Bai hu chang, สะไบนาง Sabai nang (Kanchanaburi); สะโมง Sa-mong (Suai-Surin); หัวว่าว Hua wao (Prachuap Khiri Khan) |
ชื่อสามัญ Common name |
|
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Rz) Rhizome |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เหง้า 3-4 เหง้าผสมกับลำต้นเอื้องเงิน 1 ต้นต้มดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชาวันละ2-3 ครั้ง บำรุงเลือด เป็นยาขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไตพิการ ใช้สกัดแอลกอฮอล์ไม่มีพิษเฉียบพลัน
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ไม้ล้มลุกจำพวกเฟิร์น เลื้อยเกาะเหง้าปลกคลุมด้วยเกล็ดสีน้ำตาลเข้มใบมี 2 ชนิด คือ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ รูปไข่ไม่มีก้านใบ กว้าง 20 ซม.ยาว 32 ซม.ขอบใบเป็นแฉกตื้น ๆ และใบที่สร้างสปอร์ กว้าง 50 ยาว 80 ซม.ขอบใบเว้าลึกเนื้อใบเขียว กลุ่มอับสปอร์กลมหรือรูปขอบขนาน เรียงเป็นสองแถวอยู่ระหว่างเส้นใบหลัก |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
|
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 4 กกยาอีสาน (97) |
QR code |
|
|
|