ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Buddleja asiatica Lour. |
ชื่อวงศ์ Family name |
BUDDLEJACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ราชาวดีป่า Rachawadi pa, หญ้าน้ำแป้ง Ya nam paeng, หัวเถื่อน Hua thuean, เกี๊ยงพาไฟล Kiang pha lai, ไคร้หางหมา Khrai hang ma, ดอกฟู Dok fu, มะหาดน้ำ Mahat nam (Chiang Mai); ไคร้บก Khrai bok (Northern); งวงช้าง Nguang chang (Chaiyaphum); ดอกด้ายน้ำ Dok dai nam (Chiang Mai, Mae Hong Son); ดอกด้ายหางหมา Dok dai hang ma (Chiang Mai, Lampang); ดอกถอ่น Dok thon, ฟอน Fon (Loei); ดอกแม่ม่าย Dok mae mai, แม่ม่าย Mae mai (Kanchanaburi); ปวกน้ำ Puak nam (Chiang Rai); ปุนปุ๊ก Pun-puk (Shan-Mae Hong Son); พู่จี่บอย Phu-chu-boi (Karen-Mae Hogn Son); โพหนองปี้ Pho-nong-pi (Karen-Kanchanaburi) |
ชื่อสามัญ Common name |
|
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Wp) Whole plant |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ทั้งต้น ต้มอาบแก้ปวดเมื่อย ต้มอาบแก้คันผิวหนัง มีสรรพคุณล้างสารตกค้าง ต้มรมแก้ผดผื่น ต้มอาบแก้อาการผอมแห้งแรงน้อย (2) ใบบดเอาน้ำทาบริเวณไฟไหม ใบใช้ห้ามเลือด ลำต้นและใบต้มดื่มสำหรับผู้หญิงอยู่เดือน ราก ลำต้น ใบ ต้มดื่มแก้นิ่ว (4)
ทั้งต้น ใช้เป็นยารักษาโรค ผิวหนัง และเป็นยาทำให้แท้ง
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง สูง 1-5 ม. ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนานถึงรูปใบหอกแคบ กว้าง 1-3 ซม. ยาว 9-14 ซม. มีขนนุ่มละเอียดสีขาวหนาแน่นที่ท้องใบ ดอก ช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวถึงม่วงอ่อน ผล แห้ง รูปกระสวย แตกตามตะเข็บเป็น 2 ฝา |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
|
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่,
ไม้ดอกไม้ประดับ (149), สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (53) |
QR code |
|
|
|