ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Clausena excavata Burm.f. |
ชื่อวงศ์ Family name |
RUTACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
หวดหม่อน Suat mon (Central, Northern);สันโสก San sok (Southeastern); ขี้ผึ้ง Khi phueng, แสนโสก Saen sok (Nakhon Ratchasima); ชะมัด Chamat (Ubon Ratchathani); เพี้ยฟาน Phia fan, หญ้าสาบฮิ้น Ya sap hin, หมี่ Mi (Northern); มะหลุย Ma lui (Peninsular); มุยใหญ่ Mui yai (Phuket); ยม Yom (Chumphon); รุ้ย Rui (Kanchanaburi); สีสม Si som, หมอน้อย Mo noi (Central); สมัดใบใหญ่ Samat bai yai, หัสคุณโคก Hatsa khun khok (Phetchabun); สามเสือ Sam suea (Chon Buri); สามโสก Sam sok (Chanthaburi); สำรุย Sam rui (Yala); หัสคุณ Hatsa khun, อ้อยช้าง Oi chang (Saraburi) |
ชื่อสามัญ Common name |
- |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
- |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ทั้งต้น ต้มดื่มแก้มะเร็ง ใบ ต้มอาบแก้คันผิวหนัง (2)
|
ข้อควรระวัง Caution |
- |
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
- |
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง แกตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-4 ม. ก่ิงก้านมีขนสั้นๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 15-30 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. ท้องใบมีขนบางๆ โคนใบเบี้ยว ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวแกมเหลืองผล สด รูปกระสวยสีแดง |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
- |
หมายเหตุ Remark |
ใบ ตำพอก แก้ข้อเคล็ด (หมอยาเชียงใหม่) |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(2) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2555 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน, สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (71) |
QR code |
|
|
|