ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Garuga pinnata Roxb. |
ชื่อวงศ์ Family name |
BURSERACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ตะคร้ำ Ta khram (Central, Northern); กะตีบ Kateep, แขกเต้า Khaek tao, ค้ำ Kham, หวีด Weet (Northern); ปีชะออง Pee-cha-ong (Karen-Kanchanaburi); อ้อยน้ำ Oi nam (Chanthaburi) |
ชื่อสามัญ Common name |
|
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(BK) Bark |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เปลือกต้น ตำอกหรือต้มอาบ แก้อักเสบ บวม ติดเชื้อ แผลเป็นหนอง ฝีหรือตุ่ม ต้มน้ำกิน แก้บิด แก้ท้องร่วง ทาห้ามเลื่อด แช่น้ำล้างแผลเรื้อรัง
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน |
ลักษณะ Habit |
ไม้ต้น สูง 10-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงแบบเวียน ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปหอก กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 5-7.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีครีมหรือสีชมพูอ่อน ด้านในสีเหลือง ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง ทรงกลม |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
|
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
มณฑล นอแสงศรี และคณะ. 2557. พรรณไม้ อช. ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ. สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (115) |
QR code |
|
|
|