ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Alstonia scholaris (L.) R.Br. |
ชื่อวงศ์ Family name |
APOCYNACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
สัตบรรณ (Central, Khmer- Chanthaburi); กะโน้ะ Ka-no (karen-Mae Hong Son); จะบัน Cha-ban (Khmer-Prachin Buri); ชบา Chaba, ตีนเป็ด Tin pet, พญาสัตยรรณ Phaya sattaban (Central); ตีนเป็ดดำ Tin pet dam (Narathiwat); บะซา Ba-sa, ปูลา Pu-la, ปูแล Pu-lae (Malay-Yala, Pattani); ยางขาว Yang khao (Lampang); หัสบรรณ Hatsaban (Kanchanaburi) |
ชื่อสามัญ Common name |
Devil tree, White cheese wood, Black board tree,Devil's bark |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Rt) Root |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เปลือกต้น ต้มดื่มแก้ไอ แก้ริดสีดวงทวาร และเบาหวาน ต้มดื่มและอาบแก้ไข้ ใบ ต้มอาบแก้คัน ยาง แก้น้ำกัดเท้า ทั้งต้น ต้มดื่ม แก้โรคกระเพาะ (2)
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 30-40 ม. มีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเป็นวง 4-8 ใบ รูปรี รูปไข่กลับหรือรูปใบพาย ยาว 4-32 ซม. ฐานใบรูปลิ่มหรือเป็นครีบปลายใบแหลมสั้นๆ หรือ ดอกแบบช่อกระจุกซี่ร่ม ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปไข่ มีขนสั้นนุ่มและขนครุย กลีบดอกรูปเข็ม สีขาว ผลฝักคู่ เกลี้ยง ยาว 20-25 ซม. เมล็ดจำนวนมาก มีขนครุยที่ปลาย |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
ยาง ใช้ทารักษาฝี (หมอยาหางดง เชียงใหม่) |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(2) วิทยา ปองอมรกุล และนัทธี เมืองเย็น. 2555. รายงานโครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านภาคเหนือตอนบน., พรรณพืชในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล |
QR code |
|
|
|