ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Capsicum frutescens L. |
ชื่อวงศ์ Family name |
SOLANACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
พริกขี้หนู Phrik khinu (Central); ครี Khri (Karen-Kamphaeng Phet); ดีปลี Dipli (Pattani); ดีปลีขี้นก Dipli khinok, พริกขี้นก Phrik khinok (Peninsular); ปะแกว Pa-kaeo (Chaobon-Nakhon Ratchasima); พริก Phrik (Central, Northern); พริกแด้ Phrik dae, พริกแต้ Phrik tae, พริกแต้หนู Phrik tae nu, พริกนก Phrik nok (Northern); มะระตี้ Ma-ra-ti (Khmer-Surin); มือซาซีซู Mue-sa-si-su, มือส่าโพ Mue-sa-pho (Karen-Mae Hong Son); หมักเพ็ด Mak phet (Northeastern) |
ชื่อสามัญ Common name |
Cayenne Pepper |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Ft) Fruit |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ผล เจริญอาหาร แก้บิด อาเจียน ปวดบวม กลาก หิด ปรุงรสอาหาร ให้มีรสเผ็ดขับเสมหะ แก้ไข้ แก้ตาซาง ใช้เป็นส่วนผสมในยาขับลมและยาขี้ผึ้งถูนวด
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 45-75 ซ.ม.ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงกันข้ามกัน ใบกลมรี ปลายใบแหลมดอก ออกตรงง่ามใบเป็นกลุ่ม ประมาณ 1-3 ดอก เป็นสีขาว มีกลีบดอกประมาณ 5 กลีบ ส่วนเกสรตัวผู้มี 5 อัน เกสรตัวเมียมี 1 อัน มีรังไข่ประมาณ 2-3 ห้องผล ผลสุกมีสีแดง หรือสีแดงปนน้ำตาล ลักษณะผลมีผิวลื่นเป็นมัน ภายในผลกลวง มีแกนกลาง รอบๆ แกนจะมีเมล็ดเป็นสี เหลืองเกาะอยู่มากมาย และเมล็ดมีรสเผ็ด |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
นอกจากจะมีสรรพคุณทางสมุนไพรแล้ว พริกขี้หนู ยังถือเป็นพืชเครื่องเทศที่สำคัญ กับคนไทยอีกด้วย |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ72) |
QR code |
|
|
|