ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Curcuma zedoaria (Berg) Roscoe |
ชื่อวงศ์ Family name |
ZINGIBERACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ขมิ้นขึ้น Khamin khuen (Northern); ขมิ้นอ้อย Khamin oi (Central); ละเมียด La-miat (Khmer); แฮ้วดำ Kaeo dam (Chiang Mai) |
ชื่อสามัญ Common name |
Zedparu, Luya-Luyahan |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Rz) Rhizome |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เหง้า หุงกับน้ำมันมะพร้าว นำมาใส่แผลจะทำให้แผลหายเร็วส่วน เหง้าสดนำมาบดผสมกับน้ำปูนใน สามาระนำมาดื่มรักษาอาการท้องร่วงไ แก้อาเจียน แก้ไข้ ผสมในยาระบายเพื่อให้มีฤทธิ์ระบายน้อยล สมานแผล
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
พฤษภาคม-กันยายน |
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้ล้มลุก งอกงามในฤดูฝน จะโทรม ในฤดุหนาว ใบ ท้องใบมีขนนิ่ม ในหน้าแล้งใบจะแห้ง ลงหัว บางครั้งเรียกว่า ขมิ้นขึ้นหัวดอก ออกเป็นช่อ ก้านดอกจะยาวและพุ่ง ออกจากเหง้าที่อยู่ใต้ดิน ช่อดอกมีสีชมพู ส่วนดอกสีเหลืองจะบานจากล่างขึ้นบน และบานครั้งละ 2-3 ดอก |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
เหง้า สามารนำมาแต่งสีอาหารบางชนิด เช่น ข้าวเหนียวเหลือง ขนมเบื้องญวน และยังนำมาใช้ย้อมผ้าให้เป็นสีเหลืองได้ |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาต95 |
QR code |
|
|
|