Share
ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Oroxylum indicum (L.) Kurz
ชื่อวงศ์

Family name

BIGNONIACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

เพกา Pheka (Central); กาโด้โด้ง Ka-do-dong (Karen-Kanchanaburi); ดอก๊ะ Do-ka, ด๊อกก๊ะ Dok-ka, ดุแก Du-kae (Karen-Mae Hong Son); เบโก Be-ko (Malay-Narathiwat); มะลิดไม้ Ma lit mai, มะลิ้นไม้ Ma lin mai, ลิดไม้ Lit mai (Northern); ลิ้นฟ้า Lin fa (Loei); หมากลิ้นก้าง Mak-lin-kang, หมากลิ้นซ้าง Mak-lin-sang (Shan-Northern)
ชื่อสามัญ

Common name

ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(Rt) Root
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

เปลือกต้น อมแก้ปวดฟัน ผสมมะรุม ต้มอาบแก้ไข้หนาว ขูดผสมมะนาวกินเป็นยาเจริญอาหารทำให้อ้วน ดอก รมไฟแล้วดมแก้ไซนัส ฝัก กินแก้หอบหืด เป็นยาเจริญอาหาร (2) เปลือกต้น ฝนใส่แผลสด เปลือก ใช้มีดขุดเป็นผงใส่แผลมีหนอง เปลือก ต้มกินแก้ไข้มาลาเรีย ผล ต้มกินแก้เบาหวาน เป็นยาถ่ายพยาธิ (3) ลำต้น ต้มดื่มแก้เอดส์ ดอกและผล แก้ปวดเมื่อย (4) ราก บำรุงธาตุ แก้ท้องร่วง
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้ยืนต้น สูง 3-12 ม. แตกก่ิงก้านน้อย ใบ ประกอบแบบขนนกสามชั้น เรียงตรงข้ามรวมกันอยู่บรเวณปลายก่ิง ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่แกมวรี กว้าง 4-8 ซม. ยาว 6-12 ซม. ดอก ช่อ ออกที่ปลายยอด ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยขนาดใหญ่กลีบดอกสีนวลแกมเขียว โคนกลีบเป็นหลอดสีม่วงแดง หนาย่น บานกลางคืน ผล ฝัก รูปดาบ เมื่อแก่จะแตก ภายในมีเมล็ดแบน สีขาว ปีกบางโปร่งแสง
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

India-SE.Asia
หมายเหตุ

Remark

เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชา 157)
QR code