ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Zingiber officinale Roscoe |
ชื่อวงศ์ Family name |
ZINGIBERACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ขิง Khing, ขิงแกลง Khing klaeng, ขิงแดง Khing daeng (Chanthabui); ขิงเผือก Khing phueak (Chiang Mai); สะเอ Sa-e (Karen-Mae Hong Son) |
ชื่อสามัญ Common name |
Ginger |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(Rz) Rhizome |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เหง้า กินกับเกลือหรือต้มดื่มแก้ไอ กินแก้หวัด ปิ้งกินแก้ท้องอืด เป็นยาระบาย กินสดหรือชงดื่มแก้ปวดท้อง ต้มอาบแก้ไข้ในเด็ก กินแก้ท้องเสีย (4)
เหง้า ขับลม แก้อาเจียน แก้ไอ ขับเสมหะ ขับเหงื่อ
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
|
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้ล้มลุก ลำต้นอยู่ใต้ดิน เรียกว่า เหง้า ลำต้นสูง 50-100 ซ.ม. เหง้า กลมและแบน ลำต้นแท้จะมีลักษณะเป็นข้อๆ เนื้อในสีขาว หรือเหลืองอ่อน สำต้นเทียมขนาดเท่าแท่ง ดินสอ มีกาบหรือโคนใบหุ้มใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกสลับกันเป็นสอง แถว ก้านใบจะยาวห่อหุ้มลำต้น ใบเขียวรูป หอก ฐานใบเรียวแหลม กว้าง 2 ซ.ม. ยาว 20 ซ.ม. ดอก ออกเป็นช่อจากลำต้นใต้ดิน จะแทงขึ้น มาจากเหง้า ก้านช่อดอกยาว 20 ซ.ม. ทุกๆ ดอกมีกาบสีเขียวปนแดง และจะบานให้เห็น ดอกในภายหลัง เมล็ด (ผล) มี 3 พู ภายในจะมีเมล็ดสีดำ หลายเม็ด ผลจะกลม โต และแข็ง เหง้า เมื่อแก่จะเผ็ดร้อนมาก เนื้อเหง้าขิงสี เนื้ออมเหลือง |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
- |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่,
พืชเศรษฐกิจในประเทศไทย (170) สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ (210) |
QR code |
|
|
|