ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Hedychium stenopetalum Lodd. |
ชื่อวงศ์ Family name |
ZINGIBERACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ตาเหินหลวง ta hoen luang (Northern)
|
ชื่อสามัญ Common name |
|
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
|
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
หน่ออ่อน กินสดแก้ปวดท้อง (4)
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
ออกดอกเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน |
ลักษณะ Habit |
ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน สูง 2-3 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 40-50 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ผิวใบด้านล่างมีขนนุ่ม ช่อดอกออกที่ปลายยอด รูปขอบขนาน ยาว 30-40 ซม. แกนช่อดอกมีขน ใบประดับ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-4 ซม. ใบประดับย่อยม้วนรอบดอก รูปขอบขนาน กลีบเลี้ยงเชื่อมเป็นหลอด ยาว 4 ซม. มีขนหนาแน่น ปลายแยกเป็น 3 แฉก รูปแถบ ยาว 5 ซม. กลีบปากแผ่ กว้าง 2 ซม. ยาว 2.5 ซม. รูปไข่กลับ มีก้านปลายกลีบเว้าเป็นแฉกลึก ก้านเกสรเพศผู้ ยาว 6 ซม. อับเรณู ยาว 1 ซม. รังไข่มีขนสีน้ำตาลหนาแน่น |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบริมลำธารและป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 600-800 เมตร |
หมายเหตุ Remark |
|
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(4) วิทยา ปองอมรกุล และเบญจพร ภูกาบหิน. 2559. รายงานโครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านภาคเหนือตอนบน., มณฑล นอแสงศรี และนุชจรี ตะทะนะ. 2555. พรรณไม้ดอยนางนอน. |
QR code |
|
|
|