ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Cinnamomum camphora (L.) J.Presl |
ชื่อวงศ์ Family name |
LAURACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
การบูร Karabun, อบเชยญวน Op choei yuan (Central); พรมเส็ง Phrom-seng (Shan-Northern) |
ชื่อสามัญ Common name |
Compgor, Laurel Camphor, Gum Camphor, Formosan Camphor |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
(BK) Bark |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
เปลือก แก้ปวดขอ้ตามเส้นประสาท ข้อบวมเป็นพิษ แก้เคล็ดบวม เส้นสะดุ้ง กระตุก ขัดยอก เพลง แก้ปวดท้อง ท้องร่วง ขับน้ำเหลือง
|
ข้อควรระวัง Caution |
|
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
มิถุนายน-กรกฎาคม |
ลักษณะ Habit |
ต้น ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ สูง 9 ม. เส้นผ่าศก. 25-45 นิ้ว ผิวมันเกลี้ยง สีเขียวใบ ใบเดี่ยว ผิวเรียบ มัน สีเขียวตลอดปี หนา และยาว 5-15 ซ.ม. ปลายใบแหลม รุปรีดอก สีขาวอมเขียว หรือเหลือง ขนาดเล็ก และจะออกเป็นกระจุกตามบริเวณง่ามใบ ผล สีชมพู หรือน้ำตาลม่วง ผลขนาดเล็ก ในหนึ่งผลจะมีหนึ่งเมล็ด |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
หมายเหตุ Remark |
เปลือกและราก นำมาผสมเป็นขี้ผึ้ง เป็นยาแก้ร้อน ใช้ทาเพื่อถอนพิษอักเสบ เรื้อรัง การสกัดเอาสารสำคัญจากเปลือกและ รากนั้นจะต้องหั่นเป้นชิ้นเล็กๆ แล้วนำมากลั่น โดยไอน้ำ จะได้การบูรดิบแล้วนำไประเหิด ด้วยถ่านและน้ำปูนใสต่อไป |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชา (82)) |
QR code |
|
|
|