ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific
name |
Solanum erianthum D. Don |
ชื่อวงศ์ Family name |
SOLANACEAE |
ชื่อพื้นเมือง Local name |
ช้าแป้น Cha pan; ดับยาง Dap yang (Central); ขากะอ้าย Kha ka ai, ขาตาย Kha tai, หูควาย Hu khwai (Peninsular); ฉับแป้ง Chap paeng (Suihothai); ฝ่าแป้ง Fa paeng (Northern); มะเขือดง Ma khuea dong (Khon Kaen); มั่งพะไป Mang-pha-pai, ลิ้มเม่อเจ้อ Lim-moe-choe (Karen-Mae Hong Son); สะแป้ง Sa paeng (Sing Buri); ส่างโมง Sang mong (Loei) |
ชื่อสามัญ Common name |
- |
ส่วนที่นำมาใช้ Plant part
used |
- |
การใช้ประโยชน์ Uses and Ultilizing |
ราก ต้มกินบำรุงกำลัง ต้มดื่มแก้นิ่ว เข้ายาแป้งเหล้า ต้มดื่มแก้ไข้ ราก หรือใบ ต้มดื่มแก้ร้อนใน ผล ทาแผลหูด (2)
|
ข้อควรระวัง Caution |
- |
ฤดูติดดอก ออกผล Flowering & Fruiting Season |
ออกดอกและติดผลเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
ลักษณะ Habit |
ไม้พุ่ม สูง 2 เมตร ไม่มีหนาม ยอดอ่อนมีขนสีขาวหรือเหลืองอ่อนรูปดาวปกคลุม ใบเดี่ยว ออกสลับวนรอบ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ แผ่นใบด้านบนมีขนกระจาย แผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น ก้านใบยาว 3-6 ซม. ช่อดอกแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง มีขนรูปดาวหนาแน่น กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม โคนเชื่อม ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกเป็นหลอดสั้นๆ สีขาว ด้านนอกมีขนรูปดาว ด้านในเกลี้ยง ปลายแยกเป็น 5 พู เกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูใหญ่ สีเหลือง ผลกลม สีเขียวอมเหลือง |
พื้นที่ที่พบในสวนฯ Display area (QSBG) |
|
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบบริเวณป่ารกร้าง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-700 เมตร |
หมายเหตุ Remark |
- |
เอกสารอ้างอิง Reference(s) |
(2) วิทยา ปองอมรกุล และนัทธี เมืองเย็น. 2555. รายงานโครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านภาคเหนือตอนบน., มณฑล นอแสงศรี และนุชจรี ตะทะนะ. 2555. พรรณไม้ดอยนางนอน. |
QR code |
|
|
|